องค์การบริหารส่วนตำบลกุดลาดเตือนประชาชน ระวังฝนตกหนักถึงหนักมากและฝนที่ตกสะสมระวังน้ำท่วมฉลับพลัน แจ้งเหตุได้ที่ 045-251676 หรือ045-242643

สายตรงนายก

ร้องเรียนร้องทุกข์

แจ้งเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ

ร้องเรียนการบริหารทรัพยากรบุคคล

ชำระค่าขยะ

คู่มือประชาชน

facebook

สำรวจความคิดเห็น

ระบบบันทึกสถิติการเกิดอุบัติเหตุ

ข่าวสารอาเซียน

ศูนย์ดำรงธรรมจังหวัดอุบลราชธานี

ตรวจเช็คอีเมล



ระบบจัดการบริหารเว็บไซต์

สาระดีๆจากศาลปกครอง

EGP

แบบฟอร์มขอบ้านเลขที่

สถิติการเข้าชม เริ่มวันที่ 18/04/2562
วันนี้
521
เมื่อวานนี้
248
เดือนนี้
2,523
เดือนที่แล้ว
5,862
ปีนี้
50,237
ปีที่แล้ว
38,537
ทั้งหมด
143,547
ไอพี ของคุณ
3.238.180.174
วิสิยทัศน์ และ พันธกิจ

 

    องค์การบริหารส่วนตำบลกุดลาด อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี มีนายกองค์การบริหารส่วนตำบลกุดลาด เป็นผู้บริหารสูงสุด มีภารกิจอำนาจหน้าที่ภายใต้ระเบียบ กฎหมาย ข้อบังคับและมติครม.ที่เกี่ยวข้อง ได้กำหนด วิสัยทัศน์การพัฒนา (vision) การพัฒนา ภาพการณ์ที่ปรารถนาให้เกิดขึ้นในอนาคต ของ องค์การบริหารส่วนตำบลกุดลาด ดังนี้

 

วิสัยทัศน์ (Vision)


วิสัยทัศน์การพัฒนา (vision) หมายถึง สภาพการณ์ที่เราปรารถนาให้เกิดขึ้นในอนาคต

“พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน คุณภาพชีวิต ส่งเสริมเศรษฐกิจอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ศิลปวัฒนธรรมไทย ใส่ใจธรรมาภิบาล”

 

พันธกิจ (Mission)


พันธกิจ (Mission) หมายถึง ขอบเขตของบทบาทหน้าที่หลักขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่จำเป็นต่อการบรรลุวิสัยทัศน์ (คือเราต้องทำอะไรถึงจะบรรลุตามวิสัยทัศน์ที่เรากำหนดไว้)

1. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานให้ได้มาตรฐานและเพียงพอต่อความต้องการ
2. พัฒนาศักยภาพของคนและชุมชนให้เข้มแข็ง สามารถพึ่งพาตนเองได้ จากการมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย
3. ส่งเสริมเศรษฐกิจในชุมชนให้มีความเข้มแข็งยั่งยืน
4. พัฒนาด้านการศึกษาและการสาธารณสุข ตลอดจนการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
5. ส่งเสริมด้านศิลปวัฒนธรรมอันดีงามภูมิปัญญาท้องถิ่นให้ยั่งยืนควบคู่กับการดำเนินชีวิตของคนในชุมชน

 

เป้าหมาย (Goal)


เป้าหมาย (Goal) หมายถึง การระบุสภาพที่ต้องการให้สำเร็จ (การดำเนินการ เพื่อให้เกิดอะไร ถึงจะบรรลุตามวิสัยทัศน์หรือภาพความสำเร็จของวิสัยทัศน์)

1. การได้รับบริการด้านโครงสร้างพื้นฐานให้มีความสะดวกและเสมอภาค
2. แก้ปัญหาภัยแล้ง เกษตรกรมีน้ำในการทำการเกษตรอย่างพอเพียง
3. ประชาชนมีศักยภาพ มีความรู้มีรายได้เพียงพอสามารถพึ่งตนเองได้
4. ประชาชนมีรายได้ ขจัดปัญหาความยากจน อย่างยั่งยืน
5. มลภาวะและสิ่งแวดล้อมไม่เป็นมลพิษให้บ้านเรือนและชุมชนน่าอยู่อย่างสงบสุข
6. การบริหารจัดการภาครัฐที่ดีแบบบูรณาการและมีส่วนร่วม